tutorial

เมื่อทำการเตรียมไฟล์เสร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนอัพโหลดมีดังต่อไปนี้ 1. เลือกแถบเมนู SYSTEM > IMPORT 2. Entity Type เลือกคำว่า Products 3. Import behavior เลือกคำว่า Add/Update 4. เลือกไฟล์ที่ต้องการอัพโหลด 5. คลิก check data เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง (หากไฟล์ error จะมีข้อความสีแดงแจ้งเตือน) 6. คลิกคำว่า Import เพื่อทำการโหลดไฟล์เข้า Magento

Continue Reading

หากต้องการเปลี่ยนสเตตัสของออเดอร์สามารถดำเนินการได้ ดังนี้ 1. เข้ามาที่ Order ที่ลูกค้าต้องการ จะเห็นแถบเมนูด้านบน ให้สังเกตคำว่า “Packing” หากมีการแพ็คสินค้าเรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ม “Packing” เพื่อเป็นการอัพเดตสเตตัสสินค้าว่ามีการทำการจัดเตรียมแล้วเรียบร้อย   2. หลังจากที่ทำการกดปุ่ม Packing แล้ว จะสังเกตได้ว่าตรง “Order Status” จะถูกเปลี่ยนตามที่ได้กดปุ่มจากตัวอย่างในข้อ 1. ซึ่งทำการกดปุ่ม Packing ดังนั้น “Order Status” จึงเปลี่ยนเป็น Packing   3. เมื่อสินค้าพร้อมที่จะดำเนินการจัดส่งแล้ว ให้กดปุ่ม “Ship” เพื่อเป็นการอัพเดตสเตตัสว่าออเดอร์สินค้ากำลังอยู่ในระหว่างการจัดส่ง   4. ต่อจากข้อ 3. เลื่อนลงมาด้านล่างสังเกตหัวข้อ Payment & Shipping Method > กดปุ่ม “Add Tracking Number” เพื่อทำการกรอกเลข Tracking ที่ช่อง Title และ […]

Continue Reading

การเช็คออเดอร์ เมื่อเกิดการสั่งซื้อจากหน้าเว็บไซต์บน Magento จะทำการสร้างออเดอร์ผู้ใช้งานสามารถเข้าไปเช็คออเดอร์ได้ที่ เมนู Sales > Order คำอธิบายหน้ารายละเอียดออเดอร์ในส่วนแแถบเครื่องมือ 1. Create New Order สำหรับไว้สร้างออเดอร์บน Magento (จะไม่ได้นำมาใช้งานจริง) 2. Search by key word สำหรับไว้ค้นหาออเดอร์โดยใช้ key word ในการค้นหา 3. Filters หากคลิกตรงนี้จะสามารถ source ข้อมูลที่ต้องการค้นหาได้เช่น วันที่ / สถานะ / ช่องทางการชำระ 4. Default View คือเป็นการคอลัมน์การใช้งานด้านล่างให้เป็นค่าเริ่มต้น 5. Colum หากคลิก drop-down ลงสามารถเลือกว่าต้องการให้โชว์ หรือไม่ให้โชว์ รายละเอียดในแต่ล่ะคอลัมน์ของด้านล่างได้ 6. สำหรับ export file ของออเดอร์ได้ (ข้อมูลที่ได้ออกมาจะโชว์แค่ เลขออเดอร์ / ชื่อ […]

Continue Reading

ตัวอย่างการสร้าง ส่วนลด 2,000 บาท และให้ระบบสร้าง coupon ให้อัตโนมัติ 1. กรอกชื่อลงในช่อง “Rules Name” และ คําอธิบายลงในช่อง “Description” 2. ถ้าต้องการให้โปรโมชั่นมีผลทันที ให้เลือก “Yes” ในหัวข้อ “Active” 3. เลือกกลุ่มของ ลูกค้า ที่สามารถใช้งานโปรโมชั่นนี้ได้ ในหัวข้อ “Customer Groups” ซึ่งคุณสามารถเลือกได้มากกว่า 1 กลุ่ม ( เลือก “NOT LOGGED IN” เมื่ออนุญาติให้ลูกค้าที่ไม่ได้ log in สามารถใช้โปรโมชั่นได้) 4.เมื่อต้องการกําหนด คูปอง ของโปรโมชั่น ให้เลือกตัวเลือกของหัวข้อ “Coupon” เป็น “Specific Coupon” จากนั้นทําตาม ขั้นตอนดังต่อไปนี้ a.ใส่รหัสที่ลูกค้าจะต้องกรอกเพื่อรับส่วนลดลงในช่อง “Coupon Code” b. ถ้าต้องการกําหนดจํานวนครั้งที่ คูปอง […]

Continue Reading

เงื่อนไข (conditions) คือ คําอธิบายว่าเมื่อใดที่โปรโมชั่นจะมีผล ซึ่งส่วนลดต่างๆจะถูกคํานวนโดยอัตโนมัติ จะพบกับข้อกําหนดมาตรฐาน: If ALL of there conditions are TRUE: ข้อความนี้หมายถึง “ถ้าเงื่อนทั้งหมดเป็นจริง” ซึ่งจะเห็นได้ว่ามี 2 คําที่มีการขีดเส้นใต้ ซึ่งเมื่อถูกกด จะมีกล่องตัวเลือกขึ้น มา เพื่อให้ผู้ใช้งานเปลี่ยนค่าให้ตรงตามต้องการ คลิ๊กที่ ALL จากนั้นเลือก “ALL” หรือ “ANY” (“ทั้งหมด” หรือ “อย่างน้อยหนึ่งตัว”) คลิ๊กที่ ANY จากนั้นเลือก “TRUE” หรือ “FALSE” (“จริง” หรือ “เท็จ”) ถ้าต้องการให้เงื่อนไขมีผลกับทุกสินค้า ให้ปล่อยข้อความนี้เอาไว้เป็นเหมือนมาตรฐาน 2. กดที่ เครื่องหมาย + สีเขียว จากนั้นเลือกหนึ่งในตัวเลือกต่อไปนี้เพื่อเป็นข้อกําหนดในเงื่อนไข Product attribute combination หากเลือกหัวข้อนี้จะปรากฏข้อความ “If an item […]

Continue Reading

การตรวจสอบ ticket ทุกครั้งเมื่อผู้เข้าชมเว็บได้มีการฝากข้อความทิ้งไว้หรือมีการสนทนาแบบตอบกลับทันที ระบบจะมีการเปิด Ticket ให้อัตโนมัติ การเข้าไปตรวจสอบ Tick สามารถทำได้ดังนี้ 1. คลิกที่ไอคอนรูปสี่เหลี่ยมจะมี drop-down ให้เลือกแถบเครื่องมือการใช้งาน 2. คลิกไอคอนคำว่า Support เว็บจะแสดงหน้า Home ของ ticket 3. เป็นแถบเมนูหน้า Home ที่มีการแสดงข้อมูลแบบโดยรวม 4. เป็นแถบเมนูที่สรุปและจัดการความเคลื่อนไหวของ Ticket ที่เกิดขึ้น 5. แถบเมนูสำหรับรีพอร์ต 6. แถบเมนูสำหรับการตั้งค่าต่างๆของการสนทนา 7. คือพื้นที่ที่แสดง Ticket ที่เปิดเข้ามาทั้งหมด

Continue Reading

CMS หรือที่เรียกอีกอย่างว่า Content Management System เป็นเครื่องมือการจัดโครงสร้างของเว็บไซต์ ตามดีไซน์ที่ผู้ใช้งานสามารถออกแบบได้เอง สำหรับการใช้งานของ CMS มีดังต่อไปนี้ 1. เข้าสู่ระบบ CMS จากลิงก์ที่ผู้ใช้งานได้รับ 2. เมื่อทำการเข้าสู่ระบบเรียบร้อยแล้ว จะพบกับหน้า Dashboard คำอธิบายของแต่ล่ะเครื่องมือมีดังนี้ 2.1 Pages : สำหรับไว้ออกแบบหน้าตาของ Home page หรือ Landing page ต่างๆ 2.2 Menus : สำหรับไว้กำหนด Mega Menus และ Footer ของเว็บไซต์ 2.3 Banners : เครื่องมือสำหรับใส่รูปภาพของแบรนด์เนอร์ต่างๆ 2.4 Store Locator : เครื่องมือสำหรับเพิ่มที่อยู่การติดต่อของสาขาอื่นๆ Page เมนู Page เป็นเครื่องมือหลักที่ผู้ใช้งานสามารถนำออกแบบหน้าตาของหน้าโฮมเพจหรือหน้าเพจได้ตามต้องการ คำอธิบายเครื่องมือสำหรับเมนู Page มีดังนี้ 1.1 […]

Continue Reading

วิธีการเปิดระบบกล่องสนทนาบน Zendesk Zendesk สามารถใช้ฟังก์ชั่นสนทนาแบบตอบกลับทันทีกับผู้เข้าชมเว็บได้ และการสนทนาทุกครั้งยังมีการเก็บบันทึกในรูปแบบ Ticket เพื่อสามารถนำไปเก็บเป็นสถิติได้อีกด้วย 1. คลิกไอคอนรูปสี่เหลี่ยม จะมี drop-down ให้เลือกเครื่องมือต่างๆ 2. คลิกไอคอนคำว่า Chat หลังจากหน้าเว็บจะแสดงหน้า Dashboard ในส่วนของการสนทนา 3. ผู้ใช้งานสามารถเปลี่ยนสถานะการสนทนาได้ทั้งหมด 3 สถานะ คือ Online, Away, และ Invisible 4. คือหน้า Dashboard ที่แสดงกราฟรวมของผู้ที่เข้ามาชมเว็บไซต์ 5. เป็นแถบเมนูที่ผู้ใช้งานสามารถตรวจความเคลื่อนไหวของผู้เข้าชมเว็บได้ว่า ผู้เข้าชมกำลังอยู่ที่หน้าอะไรของเว็บไซต์หรือผู้เข้าชมใช้อุปกรณ์ใดในการเข้ามาที่เว็บไซต์ 6. คือแถบเมนูที่เป็นประวัติการสนทนาของเข้าชมเว็บ

Continue Reading

การใส่รูปในตัวสินค้าแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สินค้าที่เป็น Configurable ซึ่งสามารถใส่รูปให้กับ simple ของ config นี้ได้พร้อมกันในครั้งเดียว 2. สินค้าที่เป็น Simple หากเป็นสินค้าที่ไม่มี Config มาทำหน้าที่คลุมจะต้องทำการใส่ทีล่ะตัวในแต่ล่ะ Simple วิธีการใส่รูปใน Configurable Product 1. เตรียม sku ที่ต้องการเพิ่มรูปสินค้าที่ Product Type จะต้องเป็น Configurable เท่านั้น 2. ทำการคลิกเข้ามาในตัว Product details แล้วเลื่อนลงมาด้านล่างตรงหัวข้อ Configurations และ คลิกปุ่ม Edit Configurations ตามตัวอย่างรูปด้านล่าง 3. ทำการคลิกปุ่ม Next จนไปถึง Step 3: Bulk Images, Price and Quantity 4. ตรงหัวข้อ […]

Continue Reading

เมื่อผู้ใช้งานต้องการเพิ่มจำนวนสินค้า เพื่อให้รองรับต่อความต้องการของลูกค้า ผู้ใช้งานสามารถอัพเดตได้โดยผ่านบน Magento หรือ อัพโหลดผ่านไฟล์ การอัพเดตบน Magento ให้เข้าไปที่ตัว Simple Product ของตัวที่ต้องการ (หากสินค้ามีแยกเป็น size ต้องทำการอัพเดตทีล่ะ size) เลื่อนหาคำว่า Quantity และทำการใส่จำนวนสินค้าที่ต้องการ ทำการกด Save การอัพเดตผ่านไฟล์ ทำการเปิดโปรแกรม excel และเตรียม sku พร้อมกับจำนวนสินค้าที่ต้องการอัพเดต เตรียมข้อมูลตามตัวอย่างด้านล่าง เมื่อเรียบร้อยแล้วให้ save เป็น ไฟล์ .csv และ import เข้า Magento **หมายเหตุ การอัพเดตนี้จะเป็นการเข้าไปแทนที่สิ่งที่มีอยู่แล้ว เช่นตอนนี้สินค้า test0001 บน Magento เหลือทั้งหมด 2 ชิ้น หากต้องการเพิ่มให้เป็น 3 ชิ้น จะต้องใส่เลข 3 เข้าเพื่อให้ไปแทนที่จำนวนอันเก่า**

Continue Reading